วันพฤหัสบดีที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5

บันทึกอนุทิน

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผูสอน อาจรย์จินตนา  สุขสำราญ

วันศุกร์ที่  19 กันยายน  พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 13.10 - 16.40 น.





ความรู้ที่ได้รับในวันนี้

       กิจกรรม

อาจารย์แจกกระดาษ 1 แผ่น ให้พับแบ่งกับเพื่อน 1 แผ่นใช้ได้ 4 คน
พับครึ่งกระดาษของตัวเอง แล้ววาดรูปให้สัมพันธ์กัน 2 รูป
วาดเสร็จให้นำไม้เสียบลูกขึ้นมาติดกลางหน้ากระดาษด้านใน โดยในรูปอยู่ด้านนอก
ติดกาวให้กระดาษด้านในติดกัน ใช้มือหมุนที่ด้ามไม้จะเกิดภาพทับกัน
อาจารย์มีสิ่งประดิษฐ์ 1 สิ่ง รูปร่างเป็นทรงกระบอก แจกให้นักศึกษาทุกคนสังเกต
เมื่อมองจากภายนอกก็จไม่รู้ว่ามีอะไรอยู่ภายใน แต่เมือส่องเข้าไปด้านใน 
แล้วเอนกระบอกขึ้น - ลง จะพบว่ามีลูปปิงปองอยู่ด้านใน ภายนอกจะมีแสงผ่าน
จะทำให้มองเห็นลูกปิงปอง แต่ถ้าเราเอามือปิดกระบอก จะทำให้ไม่มีแสงผ่าน 
 เราจะมองลูกปิงปองไม่เห็น
            
กิจกรรมนี้จะสอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5

บทความที่เพื่อนได้นำเสนอ มีดังนี้

 1. สอนลูกเรื่องปรากฎการธรมมชาติ
 2. สอนลูกเรื่องสัตว์
 3. การสอนวิทยสศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย เรื่องศิลปะกับวิทยาศาสตร์

สรุปเนื้อหา



สิ่งที่จะนำไปพัฒนา

     จะนำตัวอย่างที่อาจารย์สอนในการทำกิจกรรมครั้งนี้ ไปสอนให้เด็กๆได้เรียนรู้  ข้อคิดดีๆจากบทความ นำไปใช้เพื่อให้เด้กได้เกิดทักษะทั้ง 7 อย่างครบถ้วน ผ่านวิธีการเรียนรู้ของเด็กๆ ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ค่ะ


การประเมินผล


ประเมินตนเอง
     ทำกิจกรรมอย่างตั้งใจและใส่ใจ  ตั้งใจฟังที่อาจารย์อธิบาย และถามเมื่อไม่เข้าใจ วันนี้การเรียนการสอนสนุกมาก ไม่น่าเบื่อเลยเพราะมีกิจกรรมน่ารักๆให้สนุกกัน

ประเมินเพื่อน
    วันนี้เพื่อนๆทุกคนต่างตื่นเต้นในการทำกิจกรรมที่อาจารย์นำมาให้พวกเราได้ร่วมสนุกกัน เพื่อนๆทุกคนตั้งใจและใส่ใจในการทำกิจกรรมครั้งนี้มาก

ประเมินอาจารย์
     อาจารย์มีเทคนิคการสอนที่หน้าสนใจตลอดเวลา  วันนี้อาจารย์เตรียมสื่ออุปกรณ์ในการเรียนการสอนมาอย่างครบถ้วน 

        

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4

บันทึกอนุทิน


วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผูสอน อาจรย์จินตนา  สุขสำราญ

วันศุกร์ที่  12 กันยายน  พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 13.10 - 16.40 น.



ความรู้ที่ได้รับ


1.การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
2.วิทยาศาสตร์สำหรับการทดลอง
3.เรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านนิทานสำหรับเด้กปฐมวัย เทคนิคการลือและการเล่าเรื่อง


สรุปเนื้อหา





สิ่งที่จะนำไปพัฒนา


       ในการฟังเพื่อนนำเสนอบทความในวันนี จะนำความรู้ไปใช้ในการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย นำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน

การประเมินผล


  ประเมินตัวเอง
       อาจารย์ได้อธิบายเพิ่มเติมแต่ละบทความของเพื่อนๆได้อย่างละเอียด ทำให้วันนี้เข้าใจได้ง่ายขึ้น และวันนี้ได้ร่วมตอบคำถามในชั้นเรียนอย่างสนุกสนาน


ประเมินเพื่อน
      วันนี้เพื่อนๆทุกคนน่ารักมาก เพราะไม่มีคนนั่งหลังห้อง อาจารย์ก็ชื่นชม และวันนี้เพื่อนๆช่วยกันตอบคำถามอย่างสนุกสนาน

ประเมินอาจารย์
      อาจารย์สอนโดยขยายบทความให้เจ้าใจมากขึ้น ใช้คำถามเพื่อที่จะดูข้อสรุปขององค์ความรู้จากบทความ


บันทึกอนุทินครั้งที่ 3

บันทึกอนุทิน


วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผูสอน อาจรย์จินตนา  สุขสำราญ

วันศุกร์ที่  5 กันยายน  พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 13.10 - 16.40 




ความรู้ที่ได้รับ




 ท้ายคาบอาจารย์ก็ให้เพื่อนๆนำเสนอบทความ มีเลขที่ 1 - 5 ซึ้งมีหัวข้อดังนี้

1.การจัดการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
2.กิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กอนุบาล
3.สอนลูกเรื่องพืช
4.ห้าแนวทางการคิด เติมวิทย์ให้เด็กอนุบาล



สิ่งที่จะนำไปพัฒนา
- เมื่อเรารู้ความหมายและความสำคัญของวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย เราสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันหรือกิจกรรมให้เด็ก นำเทคนิคการสอนของอาจารย์โดยใช้คำถามปลายเปิด ไปฝึกใช้ในการตั้งคำถามกับเด็กได้







การประเมิน
ประเมินตนเอง
     วันนี้ฟังบทความยังไม่เข้าใจที่เพื่อนเล่ามา จับประเด็นยังไม่ชัดเจน แต่ร่วมตอบคำถามและมีส่วนร่วมในชั้นเรียน


ประเมินเพื่อน
    วันนี้เพื่อนๆมีความกระตือรือล้นในการเรียน และตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอบทความ และร่วมตอบคำถามในชั้นเรียน

ประเมินอาจารย์
    วันนี้อาจารย์มีการสอนแบบวิเคราะห์บทความ และการสอนโดยการบรรยาย และสอดแทรกข้อคิด ความคิดรอบตัว และความเป็นจริงสำหรับวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย


วันอังคารที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2557

สรุปบทความ

บทความเรื่อง การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย (มิส วัลลภา ขุมหิรัญ)
คลิกอ่านบทความ บทความเรื่อง  การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย
โดย  มิสวัลลภา  ขุมหิรัญ
หลักการและความสำคัญ 


                  วิทยาศาสตร์มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการดำรงชีวิตประจำวันของมนุษย์ ตลอดชีวิตของทุกคนต่างก็มีความเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ทั้งสิ้น  การเรียนรู้วิทยาศาสตร์จึงมีความสำคัญที่จะทำให้คนได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะที่สำคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่หลากหลายและ มีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ช่วยให้คนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์ขึ้น รวมถึงการนำความรู้ไปใช้อย่างสร้างสรรค์ มีเหตุผล มีคุณธรรม นอกจากนี้ยังช่วยให้คนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ การดูแลรักษาตลอดจนการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลและยั่งยืน
                 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ควรเน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมมีประสบการณ์ตรง ได้ลงมือปฏิบัติจริงโดยมีครูเป็นผู้ตอบสนองความสนในของเด็กและส่งเสริมการจัดโครงสร้างความคิดจากประสบการณ์ เพื่อพัฒนามุมมองและความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ รวมถึงการส่งเสริมทัศนคติเกี่ยวกับการดูแลและมีความรับผิดชอบที่รักษาสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวอย่างเหมาะสมตามวัย    อย่างไรก็ตาม การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยยังไม่ได้รับการส่งเสริมให้แพร่หลายอาจเนื่องด้วยการศึกษาปฐมวัยมิได้เป็นการศึกษาภาคบังคับและในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยได้กำหนดกรอบสาระของหลักสูตรไว้กว้างๆทำให้สาระของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ไม่มีความชัดเจน สสวท.จึงร่วมกับกลุ่มนักวิชาการ พัฒนากรอบมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัยขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยที่สอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัย พุทธศักราช 2546 และอยู่บนพื้นฐานของมาตรฐานการเรียนรู้การศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544


โดยมีหลักในการเลือกเนื้อหา 3 ประการดังนี้

1.ขอบเขตเนื้อหาวิทยาศาสตร์
2.ความเหมาะสมต่อพัฒนาการและความสามารถในการเรียนรู้ของเด็ก
3.สามารถนำไปปฏิบัติจริงได้ 




บันทึกอนุทินครั้งที่ 2

บันทึกอนุทินครั้งที่ 2










บันทึกอนุทิน       
          วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย          
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ




ครั้งที่ 2วันศุกร์ ที่ 29 สิงหาคม 2557เวลาเรียน 13.00-16.40 น.ไม่มีการเรียนการสอน



เนื่องจากวันนี้เป็นกิจกรรมรับน้องใหญ่จึงไม่มีการเรียนการสอน














บันทึกอนุทินครั้งที่ 1

บันทึกอนุทินครั้งที่ 1




บันทึกอนุทิน
                               วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
                                              อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ





ครั้งที่ 1 
วันศุกร์ ที่ 22 สิงหาคม 2557
เวลาเรียน 13.00-16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.00 น.  เวลาเลิกเรียน 16.00 น.




                       ความรู้ที่ได้รับ


                  เนื่องจากวันนี้เป็นคาบของการเรียนการสอนของวิชาการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย อาจารย์จึงชี้แจงและอธิบาย โดยบอกถึงความหมาย ความสำคัญ แนวคิดทฤษฎี และหลักการทางวิทยาศาสตร์และทักษะต่างๆทางวิทยาศาสตร์ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข และรายละเอียดเกี่ยวกับการทำบล็อก เพื่อการประเมินในรายวิชาการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

                     สิ่งที่นำไปพัฒนา


               นำแนวทางที่อาจารย์สอนไปปรับใช้ในการเรียนรู้ของรายวิชาการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


                  การประเมินผล

ประเมินตนเอง : ร่วมตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นในการทำกิจกรรมในห้องเรียน

ประเมินเพื่อน   : เพื่อนๆส่วนใหญ่ตั้งใจฟังอาจารย์และช่วยกันตอบคำถามอย่างสนุกแต่เพื่อนบางกลุ่มยัง                           ไม่มีสมาธิ ยังคุยกัน บางกลุ่มก็ยังไม่กล้าแสดงความคิดเห็น

ประเมินอาจารย์ : อาจารย์มีเทคโนโลยีในการอธิบายให้นักศึกษาเข้าใจและเห็นภาพ ทำให้การเรียนการ                             สอนน่าสนใจยิ่งขึ้น